เจ็ดสัญญาณอันตรายโรคมะเร็ง
หากคุณมีอาการอย่างใดอย่างหนึ่งตามสัญญาณอันตราย 7 ประการนี้ ที่เป็นสัญญาณเตือน คุณควรรีบไปพบ แพทย์ เพื่อการตรวจค้นหาโรคมะเร็ง หรือสาเหตุอื่น ๆ ที่ทำให้มีสัญญาณ …
อ่านต่อหากคุณมีอาการอย่างใดอย่างหนึ่งตามสัญญาณอันตราย 7 ประการนี้ ที่เป็นสัญญาณเตือน คุณควรรีบไปพบ แพทย์ เพื่อการตรวจค้นหาโรคมะเร็ง หรือสาเหตุอื่น ๆ ที่ทำให้มีสัญญาณ …
อ่านต่ออาหารยอดฮิต ที่เป็นมัจจุราชเงียบ นำพาชีวิตเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็ง การเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัย จึงเป็นเรื่องจำเป็นที่คุณต้องรู้เท่าทัน มากกว่าร้อยละ 50 ของผู้ที่ป่วยเป็นโรคมะเร็ง เกิดจากการรับประทานอาหารที่มีสารก่อมะเร็งโดยไม่รู้ตัว การให้ความรู้แก่ผู้บริโภค จึงเป็นสิ่งจำเป็น
อ่านต่อมื่ออาหารจานโปรดกลายเป็นมัจจุราชเงียบ การเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัย จึงเป็นเรื่องจำเป็นที่คุณต้องรู้เท่าทัน จากสถิติของสถาบันวิจัยมะเร็งแห่งโลกพบว่า มากกว่าร้อยละ 50 ของผู้ที่ป่วยเป็นมะเร็ง เกิดจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้อง ผู้บริโภคส่วนใหญ่มักขาดความเข้าใจและไม่ได้ตระหนักถึงอันตรายของสารก่อ มะเร็งที่อาจปนเปื้อนมาในอาหาร เราจึงรวบรวมประเภทของอาหารที่อาจก่อความเสี่ยงต่อการ เกิดมะเร็งมาไว้ ดังนี้
อ่านต่อรู้ทันไขมันพอกตับ ฆาตกรเงียบใหม่ ก่อนจะสายเกินแก้ คนผอมก็เป็นโรคนี้ได้ ไขมันพอกตับเสี่ยงต่อการเป็นเบาหวาน อัมพฤกษ์สมองเสื่อม ตับอักเสบ ตับแข็ง ตับวาย และมะเร็งตับได้ บทความนี้จะให้ความรู้ถึงสาเหตุ ผลร้ายที่มีต่อสุขภาพ และวิธีป้องกัน ให้รอดพ้นจ้ะไขมันพอกตับ
อ่านต่อองค์การอนามัยโลกเปิดเผยข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับต้นเหตุการเสียชีวิตของประชากรทั่วโลก โดยจากสถิติพบว่า ทุก 1 นาที จะมีคนเสียชีวิตจากการบริโภคอาหารปนเปื้อนเชื้อโรคและสารเคมีเฉลี่ย 4 คน หรือคิดเป็นประมาณ 2 ล้านคนต่อปี เมื่อวิเคราะห์พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่นำไปสู่การเกิดอันตรายพบว่า การบริโภคอาหารที่ใช้น้ำมันทอดซ้ำเป็นหนึ่งในต้นเหตุที่ส่งผลร้ายต่อสุขภาพหลายอย่าง
อ่านต่อวันนี้นำเรื่องราวชายคนหนึ่งที่สามารถเอาชนะ โรคมะเร็ง ได้ เมื่อปี พ.ศ. 2013ชายนักธุรกิจ “หลี ไค ฟู่” วัย 52 ปี ประธานกรรมการโรงงานแห่งหนึ่งได้ประกาศกลับเข้าสู่ตำแหน่งอีกครั้ง หลังประกาศลาพักยาวเพื่อรักษาตัว เนื่องจากป่วยเป็น “มะเร็งต่อมน้ำเหลือง ระยะที่ 4” ทั้งที่ไม่อยากหยุดจากงานที่ทำเพราะนั้นเป็นงานที่เขารักมาก
อ่านต่อแต่ถึงแม้ว่า “ยีน” หรือกรรมพันธุ์จะมีส่วนที่จะเป็นปัจจัยเสี่ยงโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก แต่งานวิจัยพบว่า พฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ดี อาจนำไปสู่สาเหตุของการเป็นมะเร็งต่อมลูกหมากได้เช่นกัน และยังมีรายงานวิจัยเพิ่มเติมว่า การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภค มีส่วนช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคมะเร็งต่อมลูกหมากได้
อ่านต่อซิโนเอสโตรเจน (Xenoestrogen) เป็นเอสโตรเจนแปลกปลอม ที่ส่งผลให้ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนตามธรรมชาติ เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางลบ นั่นคือทำให้ร่างกายโดยรวมแก่เร็ว ตั้งแต่ผิวพรรณ ริ้วรอย ระบบเผาผลาญ รวมทั้งสภาวะอารมณ์ที่แปรปรวน ยิ่งถ้าได้รับสารนี้ติดต่อกันเป็นเวลานานจะกระตุ้นยีนมะเร็งให้ทำงาน ทำให้เกิดเนื้องอกและโรคมะเร็งชนิดต่างๆ ที่พบบ่อยคือบริเวณเต้านมและระบบสืบพันธุ์ ซึ่งสารดังกล่าวสามารถเข้าสู่ร่างกายโดยการรับประทานอาหารที่มีสารปนเปื้อนหรือมีสารฆ่าแมลงผสมอยู่
อ่านต่อเพื่อให้ผู้อ่านหายข้องใจ นพ.กฤษดา ศิรามพุช ผอ.สถาบันเวชศาสตร์อายุรวัฒน์นานาชาติ อธิบายว่า ขวดน้ำพลาสติกใช้แล้วใช้อีกอันตรายจริง โดยเฉพาะขวดน้ำพลาสติกแบบโพลีคาร์บอเนต เมื่อโดนเย็นจัดหรือร้อนจี๋หรือการขบกัดขูดขีดกระแทก จะทำให้มีสารก่อมะเร็งกลุ่ม BPA (Bis – phenol A) ซึ่งเป็นสารเคมีที่พบในบรรจุภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มที่ทำมาจากพลาสติกออกมา
อ่านต่อ